Members Login
Username 
 
Password 
    Remember Me  
Post Info TOPIC: เขาพระสุเมรุ


Senior Member

Status: Offline
Posts: 379
Date:
เขาพระสุเมรุ
Permalink   


       ตามคติพราหมณ์นั้น เขาพระสุเมรุนี้ เป็นภูเขาที่เป็นหลักของโลก เป็นภูเขาที่ตั้ง
อยู่ในจุดศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล ตามตำนานกล่าวว่า พระอิศวรทรง
สร้างน้ำด้วยพระเสโท (เหงื่อ) สร้างแผ่นดินด้วยเมโท (ไคล) ของพระองค์ (บาง
ตำนานว่าทรงสำรอกพระมังสะในพระอุระออกมาบันดาลให้เป็นแผ่นดิน)



      พระอิศวรมีพระประสงค์จะประดิษฐานภูเขาใหญ่ให้เป็นหลักของโลก จึงทรงเอา
พระจุฑามณี (ปิ่นปักผม) ปักลงที่ใจกลางของพื้นภพ บันดาลให้เป็น
เขาพระสุเมรุ แล้วเอา พระสังวาลมาสร้างเป็นทิวเขาสวมรอยเขาพระสุเมรุอีก
7 ทิว เรียกว่า สัตบริภัณฑคีรีก็เพื่อจะให้เป็นที่อาศัยของทวยเทพทั้งหลาย

     เขาพระสุเมรุนี้ สูงจากพื้นน้ำ 84,000 โยชน์ ใต้เขาพระสุเมรุมีเขา 3 ลูกรองรับ
เป็นฐานเรียกว่า ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า
สัณบริภัณฑคีรี คือ ทิวเขา ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก
และอัสกัณ เป็นที่สถิตของเทวดาจตุมหาราชิก และบริวาร ภายในจักรวาล
มีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน
เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล ทุกๆ จักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงษ์
อุสุรพิภพ อเวจีนรก และมหาทวีปทั้ง 4 คือ ชมพูทวีป อมรโคยาน ปุพพวิเทห
และ อุตรกุระ มหาทวีปทั้ง 4 มีทวีปน้อยๆ เป็นบริวารอีก 2000 ในทิศทั้ง 4
ของจักรวาล มีมหาสมุทรทั้ง 4 อันมีน้ำเต็มเป็นนิจ คือทิศเหนือมีมหาสมุทร
ชื่อ - ปิตสาคร มีน้ำสีเหลือง ทิศตะวันตก ชื่อ - ผลิกสาคร มีน้ำใสสะอาด
เหมือนแก้วผลึก ทิศตะวันออกชื่อ - ขีรสาคร เกษียรสมุทร น้ำสีขาว และทิศใต้
ชื่อ - นิลสาคร มีน้ำสีเขียว


     อุตรกุรุทวีป อยู่เหนือของภูเขาพระสุเมรุ มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่กว้าง
8,000 โยชน์ เป็นที่ราบ มีต้นไม้นานาชนิด คนรูปร่างงาม ในแผ่นดินอุตรกุรุ
มีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหนึ่ง ถ้าอยากได้อะไร ก็ไปนึกเอาที่ต้นกัลปพฤกษ์


     ชมพูทวีป คืออินเดีย อยุ่ตอนใต้เขาพระสุเมรุ รูปเหมือนเกวียน มีต้นไม้หว้ามาก
ในทวีปนี้ ด้านตะวันออกมีต้นชุมพู่ (บ้างก็เรียกไม้หว้า) สูง 1000 โยชน์ กว้าง
โดยรอบ 1000 โยชน์ น้ำของชมพู่ไหลลงมาเป็นแม่น้ำสู่ทิศตะวันตก
เป็นน้ำกายสิทธิ์ ถูกสิ่งใดสิ่งนั้นกลายเป็นสีทอง มีนามว่า พังครนที เป็นน้ำไหล
ลงมาเป็นแม่น้ำชมพู ประชาชนใช้น้ำนี้กินไม่เกิดดรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีกลิ่นตัว
ไม่รุ้สึกเหนื่อย และไม่ชรา น้ำลาดดินสองข้างฝั่ง ได้รับโอชะดูดน้ำชมพู่ไว้ต้องลม
โชยงวดเป็นทอง เรียกว่า ทองชมพูนุช ซึ่งพวกนักสิทธิ์เอาไปทำเป็น
เครื่องประดับ


     ปุพพวิเทหะ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเขาพระสุเมรุ มีรุกเหมือนพระจันทร์
เต็มดวง เนื้อที่กว้าง 7000 โยชน์ มีเกาะ 400 เกาะ คนหน้ากลมเหมือน
ดวงจันทร์


     อมรโคยาน ตั้งอยู่ทางตะวันตกของเขาพระสุเมรุ มีรูปเหมือนพระจันทร์
ครึ่งซีก เป็นแผ่นดินกว้าง 9000 โยชน์ ประกอบด้วยเกาะ และแม่น้ำใหญ่น้อย
มีไม้กระทุ่มประจำทวีปนี้ คนหน้าเหมือนดั่งเดือนแรม จมูกโด่ง คางแหลม


เหนือเขาพระสุเมรุนี้ มีไพชยนต์ปราสาทตั้งอยู่กลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ตรัยตรึงศ์) อันเป็นที่พระอินทร์สถิตอยู่ และสวรรค์ดาวดึงษ์นี้เป็นสวรรค์ชั้นหนึ่ง
ของ ฉกามาพจร (สวรรค์ที่เกี่ยวข้องกับความรัก) สวรรค์ ชั้นนี้ มีดังนี้


1. จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 มี"ท้าวกุเวร" หรือบางทีเรียก
ว่า ท้าวเวสสุวรรณ รักษาทางทิศอุดร มีพวกยักษ์เป็นบริวาร "ท้าวธตรฐ" รักษา
ทางทิศบูรพา มีพวกคนธรรพ์เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬหก" รักษาทางทิศทักษิณ มี
พวกุมภัณฑ์ (อสูรจำพวกหนึ่ง) เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬปักษ์" รักษาทางทิศประจิม
มีฝูงนาคเป็นบริวาร


2. ดาวดึงส์ มีวิมานอยู่บนเขาพระสุเมรุ มีพระอินทร์เป็นใหญ่


3. ยามะ มีท้าวสยามเทวราชปกครอง


4. ดุสิต มีท้าวสันนุสิต เป็นใหญ่ สวรรค์ชั้นนี้กล่าวกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ คือ
เป็นที่เกิดแห่งพระโพธิสัตว์ในชาติที่กำลังบำเพ็ญบารมี และยังเป็นสวรรค์ชั้น
ที่พุทธบิดามารดา และผู้มีบุญวาสนาอื่นๆ อีกมาก เคยถือกำเนิดเป็นเทวดา
ในสวรรค์ชั้นนี้ ในวรรณคดีไทยกล่าวถึงสวรรค์ชั้นนี้มาก


5. นิมมานรดี มีท้าวสุนิมมิตปกครอง เทวดาผู้สถิตในสวรรค์ชั้นนี้มีบุญญานุภาพ
มาก มีความประสงค์สิ่งใด ก็เนรมิตได้สมความปราถนา


6. ปรนิมมิตวสวัสดี มีท้าวปรินิมมิตวสวัสดี ปกครอง สวรรค์ชั้นนี้มีความเป็นอยู่
สุขสบายกว่าทุกชั้น แม้จะเนรมิตอะไร ก็มีเทวดาชั้นที่ 5 เนรมิตให้
ป่าหิมพานต์มีสระอยู่ 7 สระ คือ สระอโนดาต มันทากินี กุณาล สหัปปดาต
กัณมุณฑ์ รดาการ ฉัททันต์ สระที่รู้จักกันดีคือ สระอโนดาต มีภูเขาล้อมรอบ
5 ลูก คือ - สุทัศนกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยทอง - เขาจิตรกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยแก้ว -
เขากาลกูฏ ล้วนแล้วด้วยนิลมณี - เขาไกรลาส ล้วนแล้วด้วยเงิน ที่สถิตของ
พระอิศวร และ - คันธมาทกูฏ ล้วนแล้วด้วยแก้วมณีและพันธ์ไม้หอมต่างๆ
บางชนิดดอกหอม บางชนิดเปลือกหอม บางชนิดยางหมอ บางชนิดรากหอม
เขานี้ ถ้าเดือนมืดจะแลเห็นรุ่งเรือง เหมือนถ่านเพลิงอันลุกโชน ถ้าเดือนหงาย
ก็เรืองเหมือนไฟไหม้ป่า ส่วนที่เชิงเขามีผาชะโงก เรียกว่า นันทมูล
เป็นที่ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโปรดประทับ มีถ้ำคูหา 3 แห่ง คือ
สุวรรณคูหา มณีคูหา และรัชฏคูหา


     น้ำในสระอโนดาตใสสะอาด และเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ สระนี้มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า
เป็นที่อาบน้ำของเทวดา เทพธิดาท่าหนึ่ง พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่าหนึ่ง
ฤาษีวิทยาธรท่าหนึ่ง พระอรหันต์ท่าหนึ่ง


     น้ำในสระอโนดาตนี้ไหลออกตามซอกภูเขาที่อยู่รอบ 4 ทิศ ภูเขานี้มีรูปปากช่อง
เป็นหน้าสิงห็ หน้าช้าง หน้าม้า และหน้าวัว น้ำที่แยกออกไปทางเขาหน้าสิงห์
ผ่านไปทางแดนตะวันออกของเขาหิมพานต์ อันเป็นที่อยู่ของราชสีห์นานาชนิด
ซึ่งกล่าวว่ามี 4 ชนิด คือ - ติณราชสีห์ กินหญ้าเป็นอาหาร รูปร่างคล้ายวัว
ขนสีหม่น หรือมัว - กาฬราชสีห์ มีขนสีดำ รูปร่างคล้ายวัว กินเนื้อเป็นอาหาร
- บัณฑูสุรมฤคราชสีห์ มีขนสีเหลือง เลื่อมงาม รูปร่างเหมือนสองชนิดแรก
ที่ปลายเท้าและปากเป็นสีแดงตัดกันที่กลางหลัง ที่สะโพก โคนขามีขนรอบเวียน
ทักษิณาวัฏ (เวียนขวา) มีขนปกคลุมคอสีแดง เสพสัตว์เป็นอาหาร


     ส่วนน้ำในสระที่ไหลออกจากเขาวัว ก็กลายเป็นแม่น้ำสายต่างๆ อันแยกออกเป็น
5 สาย เรียกว่า ปัญจมหานที คือ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู และมหิ ส่วนที่ไหล
ออกจากหน้าม้า น้ำเป็นสีเขียว ผ่านเป็นแม่น้ำสินธุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของม้าสินธพ
ส่วนที่ผ่านด้านหน้าเหนือที่ไหลออกจากเขาหน้าช้าง น้ำเป็นสีเหลือง ผ่านแดน
อันเป็นที่อาศัยของช้างตระกูลต่างๆ 10 ตระกูล คือ
1. กาฬวกหัตถี สีดำ เกิดที่เขากาฬคีรี
2. คังไคยหัตถี สีน้ำ เกิดใกล้แม่น้ำคงคา
3. บัณฑรหัตถี สีเหลือง หรือขาวสะอาด
4. ตามพหัตถี สีทองแดง
5. ปิงคลหัตถี สีจำปาหรือน้ำตาล
6. คันธหัตถี ช้างตระกูลนี้กลิ่นหอม สีไม้กฤษณา
7. มังคลหัตถี กิริยาท่าเดินงดงาม สีนิลอัญชัญ
8. เหมหัตถี สีทอง
9. อุโปสถหัตถี สีทอง
10. ฉัททันตหัตถี สีขาวบริสุทธิ์ มีปากและเท้าแดง


     (แหล่งที่มา - ประวัติวรรณคดี : รศ. ประจักษ์ ประภาพิทยากร)



__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

Bollywood2Thai wrote:

ตามคติพราหมณ์นั้น เขาพระสุเมรุนี้ เป็นภูเขาที่เป็นหลักของโลก เป็นภูเขาที่ตั้ง
อยู่ในจุดศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล ตามตำนานกล่าวว่า พระอิศวรทรง
สร้างน้ำด้วยพระเสโท (เหงื่อ) สร้างแผ่นดินด้วยเมโท (ไคล) ของพระองค์ (บาง
ตำนานว่าทรงสำรอกพระมังสะในพระอุระออกมาบันดาลให้เป็นแผ่นดิน)



shambhalacity.jpg พระอิศวรมีพระประสงค์จะประดิษฐานภูเขาใหญ่ให้เป็นหลักของโลก จึงทรงเอา
พระจุฑามณี (ปิ่นปักผม) ปักลงที่ใจกลางของพื้นภพ บันดาลให้เป็น
เขาพระสุเมรุ แล้วเอา พระสังวาลมาสร้างเป็นทิวเขาสวมรอยเขาพระสุเมรุอีก
7 ทิว เรียกว่า สัตบริภัณฑคีรีก็เพื่อจะให้เป็นที่อาศัยของทวยเทพทั้งหลาย

เขาพระสุเมรุนี้ สูงจากพื้นน้ำ 84,000 โยชน์ ใต้เขาพระสุเมรุมีเขา 3 ลูกรองรับ
เป็นฐานเรียกว่า ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า
สัณบริภัณฑคีรี คือ ทิวเขา ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก
และอัสกัณ เป็นที่สถิตของเทวดาจตุมหาราชิก และบริวาร ภายในจักรวาล
มีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน
เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล ทุกๆ จักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงษ์
อุสุรพิภพ อเวจีนรก และมหาทวีปทั้ง 4 คือ ชมพูทวีป อมรโคยาน ปุพพวิเทห
และ อุตรกุระ มหาทวีปทั้ง 4 มีทวีปน้อยๆ เป็นบริวารอีก 2000 ในทิศทั้ง 4
ของจักรวาล มีมหาสมุทรทั้ง 4 อันมีน้ำเต็มเป็นนิจ คือทิศเหนือมีมหาสมุทร
ชื่อ - ปิตสาคร มีน้ำสีเหลือง ทิศตะวันตก ชื่อ - ผลิกสาคร มีน้ำใสสะอาด
เหมือนแก้วผลึก ทิศตะวันออกชื่อ - ขีรสาคร เกษียรสมุทร น้ำสีขาว และทิศใต้
ชื่อ - นิลสาคร มีน้ำสีเขียว


อุตรกุรุทวีป อยู่เหนือของภูเขาพระสุเมรุ มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่กว้าง
8,000 โยชน์ เป็นที่ราบ มีต้นไม้นานาชนิด คนรูปร่างงาม ในแผ่นดินอุตรกุรุ
มีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหนึ่ง ถ้าอยากได้อะไร ก็ไปนึกเอาที่ต้นกัลปพฤกษ์


ชมพูทวีป คืออินเดีย อยุ่ตอนใต้เขาพระสุเมรุ รูปเหมือนเกวียน มีต้นไม้หว้ามาก
ในทวีปนี้ ด้านตะวันออกมีต้นชุมพู่ (บ้างก็เรียกไม้หว้า) สูง 1000 โยชน์ กว้าง
โดยรอบ 1000 โยชน์ น้ำของชมพู่ไหลลงมาเป็นแม่น้ำสู่ทิศตะวันตก
เป็นน้ำกายสิทธิ์ ถูกสิ่งใดสิ่งนั้นกลายเป็นสีทอง มีนามว่า พังครนที เป็นน้ำไหล
ลงมาเป็นแม่น้ำชมพู ประชาชนใช้น้ำนี้กินไม่เกิดดรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีกลิ่นตัว
ไม่รุ้สึกเหนื่อย และไม่ชรา น้ำลาดดินสองข้างฝั่ง ได้รับโอชะดูดน้ำชมพู่ไว้ต้องลม
โชยงวดเป็นทอง เรียกว่า ทองชมพูนุช ซึ่งพวกนักสิทธิ์เอาไปทำเป็น
เครื่องประดับ


ปุพพวิเทหะ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเขาพระสุเมรุ มีรุกเหมือนพระจันทร์
เต็มดวง เนื้อที่กว้าง 7000 โยชน์ มีเกาะ 400 เกาะ คนหน้ากลมเหมือน
ดวงจันทร์


อมรโคยาน ตั้งอยู่ทางตะ มีรูปเหมือนพระจันทร์
ครึ่งซีก เป็นแผ่นดินกว้าง 9000 โยชน์ ประกอบด้วยเกาะ และแม่น้ำใหญ่น้อย
มีไม้กระทุ่มประจำทวีปนี้ คนหน้าเหมือนดั่งเดือนแรม จมูกโด่ง คางแหลม


เหนือเขาพระสุเมรุนี้ มีไพชยนต์ปราสาทตั้งอยู่กลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ตรัยตรึงศ์) อันเป็นที่พระอินทร์สถิตอยู่ และสวรรค์ดาวดึงษ์นี้เป็นสวรรค์ชั้นหนึ่ง
ของ ฉกามาพจร (สวรรค์ที่เกี่ยวข้องกับความรัก) สวรรค์ ชั้นนี้ มีดังนี้


1. จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 มี"ท้าวกุเวร" หรือบางทีเรียก
ว่า ท้าวเวสสุวรรณ รักษาทางทิศอุดร มีพวกยักษ์เป็นบริวาร "ท้าวธตรฐ" รักษา
ทางทิศบูรพา มีพวกคนธรรพ์เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬหก" รักษาทางทิศทักษิณ มี
พวกุมภัณฑ์ (อสูรจำพวกหนึ่ง) เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬปักษ์" รักษาทางทิศประจิม
มีฝูงนาคเป็นบริวาร


2. ดาวดึงส์ มีวิมานอยู่บนเขาพระสุเมรุ มีพระอินทร์เป็นใหญ่


3. ยามะ มีท้าวสยามเทวราชปกครอง


4. ดุสิต มีท้าวสันนุสิต เป็นใหญ่ สวรรค์ชั้นนี้กล่าวกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ คือ
เป็นที่เกิดแห่งพระโพธิสัตว์ในชาติที่กำลังบำเพ็ญบารมี และยังเป็นสวรรค์ชั้น
ที่พุทธบิดามารดา และผู้มีบุญวาสนาอื่นๆ อีกมาก เคยถือกำเนิดเป็นเทวดา
ในสวรรค์ชั้นนี้ ในวรรณคดีไทยกล่าวถึงสวรรค์ชั้นนี้มาก


5. นิมมานรดี มีท้าวสุนิมมิตปกครอง เทวดาผู้สถิตในสวรรค์ชั้นนี้มีบุญญานุภาพ
มาก มีความประสงค์สิ่งใด ก็เนรมิตได้สมความปราถนา


6. ปรนิมมิตวสวัสดี มีท้าวปรินิมมิตวสวัสดี ปกครอง สวรรค์ชั้นนี้มีความเป็นอยู่
สุขสบายกว่าทุกชั้น แม้จะเนรมิตอะไร ก็มีเทวดาชั้นที่ 5 เนรมิตให้
ป่าหิมพานต์มีสระอยู่ 7 สระ คือ สระอโนดาต มันทากินี กุณาล สหัปปดาต
กัณมุณฑ์ รดาการ ฉัททันต์ สระที่รู้จักกันดีคือ สระอโนดาต มีภูเขาล้อมรอบ
5 ลูก คือ - สุทัศนกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยทอง - เขาจิตรกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยแก้ว -
เขากาลกูฏ ล้วนแล้วด้วยนิลมณี - เขาไกรลาส ล้วนแล้วด้วยเงิน ที่สถิตของ
พระอิศวร และ - คันธมาทกูฏ ล้วนแล้วด้วยแก้วมณีและพันธ์ไม้หอมต่างๆ
บางชนิดดอกหอม บางชนิดเปลือกหอม บางชนิดยางหมอ บางชนิดรากหอม
เขานี้ ถ้าเดือนมืดจะแลเห็นรุ่งเรือง เหมือนถ่านเพลิงอันลุกโชน ถ้าเดือนหงาย
ก็เรืองเหมือนไฟไหม้ป่า ส่วนที่เชิงเขามีผาชะโงก เรียกว่า นันทมูล
เป็นที่ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโปรดประทับ มีถ้ำคูหา 3 แห่ง คือ
สุวรรณคูหา มณีคูหา และรัชฏคูหา


น้ำในสระอโนดาตใสสะอาด และเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ สระนี้มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า
เป็นที่อาบน้ำของเทวดา เทพธิดาท่าหนึ่ง พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่าหนึ่ง
ฤาษีวิทยาธรท่าหนึ่ง พระอรหันต์ท่าหนึ่ง


น้ำในสระอโนดาตนี้ไหลออกตามซอกภูเขาที่อยู่รอบ 4 ทิศ ภูเขานี้มีรูปปากช่อง
เป็นหน้าสิงห็ หน้าช้าง หน้าม้า และหน้าวัว น้ำที่แยกออกไปทางเขาหน้าสิงห์
ผ่านไปทางแดนตะวันออพานต์ อันเป็นที่อยู่ของราชสีห์นานาชนิด
ซึ่งกล่าวว่ามี 4 ชนิด คือ - ติณราชสีห์ กินหญ้าเป็นอาหาร รูปร่างคล้ายวัว
ขนสีหม่น หรือมัว - กาฬราชสีห์ มีขนสีดำ รูปร่างคล้ายวัว กินเนื้อเป็นอาหาร
- บัณฑูสุรมฤคราชสีห์ มีขนสีเหลือง เลื่อมงาม รูปร่างเหมือนสองชนิดแรก
ที่ปลายเท้าและปากเป็นสีแดงตัดกันที่กลางหลัง ที่สะโพก โคนขามีขนรอบเวียน
ทักษิณาวัฏ (เวียนขวา) มีขนปกคลุมคอสีแดง เสพสัตว์เป็นอาหาร


ส่วนน้ำในสระที่ไหลออกจากเขาวัว ก็กลายเป็นแม่น้ำสายต่างๆ อันแยกออกเป็น
5 สาย เรียกว่า ปัญจมหานที คือ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู และมหิ ส่วนที่ไหล
ออกจากหน้าม้า น้ำเป็นสีเขียว ผ่านเป็นแม่น้ำสินธุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของม้าสินธพ
ส่วนที่ผ่านด้านหน้าเหนือที่ไหลออกจากเขาหน้าช้าง น้ำเป็นสีเหลือง ผ่านแดน
อันเป็นที่อาศัยของช้างตระกูลต่างๆ 10 ตระกูล คือ
1. กาฬวกหัตถี สีดำ เกิดที่เขากาฬคีรี
2. คังไคยหัตถี สีน้ำ เกิดใกล้แม่น้ำคงคา
3. บัณฑรหัตถี สีเหลือง หรือขาวสะอาด
4. ตามพหัตถี สีทองแดง
5. ปิงคลหัตถี สีจำปาหรือน้ำตาล
6. คันธหัตถี ช้างตระกูลนี้กลิ่นหอม สีไม้กฤษณา
7. มังคลหัตถี กิริยาท่าเดินงดงาม สีนิลอัญชัญ
8. เหมหัตถี สีทอง
9. อุโปสถหัตถี สีทอง
10. ฉัททันตหัตถี สีขาวบริสุทธิ์ มีปากและเท้าแดง


(แหล่งที่มา - ประวัติวรรณคดี : รศ. ประจักษ์ ประภาพิทยากร)







__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

Bollywood2Thai wrote:

ตามคติพราหมณ์นั้น เขาพระสุเมรุนี้ เป็นภูเขาที่เป็นหลักของโลก เป็นภูเขาที่ตั้ง
อยู่ในจุดศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล ตามตำนานกล่าวว่า พระอิศวรทรง
สร้างน้ำด้วยพระเสโท (เหงื่อ) สร้างแผ่นดินด้วยเมโท (ไคล) ของพระองค์ (บาง
ตำนานว่าทรงสำรอกพระมังสะในพระอุระออกมาบันดาลให้เป็นแผ่นดิน)



shambhalacity.jpg พระอิศวรมีพระประสงค์จะประดิษฐานภูเขาใหญ่ให้เป็นหลักของโลก จึงทรงเอา
พระจุฑามณี (ปิ่นปักผม) ปักลงที่ใจกลางของพื้นภพ บันดาลให้เป็น
เขาพระสุเมรุ แล้วเอา พระสังวาลมาสร้างเป็นทิวเขาสวมรอยเขาพระสุเมรุอีก
7 ทิว เรียกว่า สัตบริภัณฑคีรีก็เพื่อจะให้เป็นที่อาศัยของทวยเทพทั้งหลาย
เขาพระสุเมรุนี้ สูงจากพื้นน้ำ 84,000 โยชน์ ใต้เขาพระสุเมรุมีเขา 3 ลูกรองรับ เป็นฐานเรียกว่า ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า สัณบริภัณฑคีรี คือ ทิวเขา ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก และอัสกัณ เป็นที่สถิตของเทวดาจตุมหาราชิก และบริวาร ภายในจักรวาล มีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล ทุกๆ จักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงษ์ อุสุรพิภพ อเวจีนรก และมหาทวีปทั้ง 4 คือ ชมพูทวีป อมรโคยาน ปุพพวิเทห และ อุตรกุระ มหาทวีปทั้ง 4 มีทวีปน้อยๆ เป็นบริวารอีก 2000 ในทิศทั้ง 4 ของจักรวาล มีมหาสมุทรทั้ง 4 อันมีน้ำเต็มเป็นนิจ คือทิศเหนือมีมหาสมุทร ชื่อ - ปิตสาคร มีน้ำสีเหลือง ทิศตะวันตก ชื่อ - ผลิกสาคร มีน้ำใสสะอาด เหมือนแก้วผลึก ทิศตะวันออกชื่อ - ขีรสาคร เกษียรสมุทร น้ำสีขาว และทิศใต้ ชื่อ - นิลสาคร มีน้ำสีเขียว

อุตรกุรุทวีป อยู่เหนือของภูเขาพระสุเมรุ มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่กว้าง
8,000 โยชน์ เป็นที่ราบ มีต้นไม้นานาชนิด คนรูปร่างงาม ในแผ่นดินอุตรกุรุ
มีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหนึ่ง ถ้าอยากได้อะไร ก็ไปนึกเอาที่ต้นกัลปพฤกษ์


ชมพูทวีป คืออินเดีย อยุ่ตอนใต้เขาพระสุเมรุ รูปเหมือนเกวียน มีต้นไม้หว้ามาก
ในทวีปนี้ ด้านตะวันออกมีต้นชุมพู่ (บ้างก็เรียกไม้หว้า) สูง 1000 โยชน์ กว้าง
โดยรอบ 1000 โยชน์ น้ำของชมพู่ไหลลงมาเป็นแม่น้ำสู่ทิศตะวันตก
เป็นน้ำกายสิทธิ์ ถูกสิ่งใดสิ่งนั้นกลายเป็นสีทอง มีนามว่า พังครนที เป็นน้ำไหล
ลงมาเป็นแม่น้ำชมพู ประชาชนใช้น้ำนี้กินไม่เกิดดรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีกลิ่นตัว
ไม่รุ้สึกเหนื่อย และไม่ชรา น้ำลาดดินสองข้างฝั่ง ได้รับโอชะดูดน้ำชมพู่ไว้ต้องลม
โชยงวดเป็นทอง เรียกว่า ทองชมพูนุช ซึ่งพวกนักสิทธิ์เอาไปทำเป็น
เครื่องประดับ


ปุพพวิเทหะ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเขาพระสุเมรุ มีรุกเหมือนพระจันทร์
เต็มดวง เนื้อที่กว้าง 7000 โยชน์ มีเกาะ 400 เกาะ คนหน้ากลมเหมือน
ดวงจันทร์


อมรโคยาองเขาพระสุเมรุ มีรูปเหมือนพระจันทร์
ครึ่งซีก เป็นแผ่นดินกว้าง 9000 โยชน์ ประกอบด้วยเกาะ และแม่น้ำใหญ่น้อย
มีไม้กระทุ่มประจำทวีปนี้ คนหน้าเหมือนดั่งเดือนแรม จมูกโด่ง คางแหลม


เหนือเขาพระสุเมรุนี้ มีไพชยนต์ปราสาทตั้งอยู่กลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ตรัยตรึงศ์) อันเป็นที่พระอินทร์สถิตอยู่ และสวรรค์ดาวดึงษ์นี้เป็นสวรรค์ชั้นหนึ่ง
ของ ฉกามาพจร (สวรรค์ที่เกี่ยวข้องกับความรัก) สวรรค์ ชั้นนี้ มีดังนี้


1. จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 มี"ท้าวกุเวร" หรือบางทีเรียก
ว่า ท้าวเวสสุวรรณ รักษาทางทิศอุดร มีพวกยักษ์เป็นบริวาร "ท้าวธตรฐ" รักษา
ทางทิศบูรพา มีพวกคนธรรพ์เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬหก" รักษาทางทิศทักษิณ มี
พวกุมภัณฑ์ (อสูรจำพวกหนึ่ง) เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬปักษ์" รักษาทางทิศประจิม
มีฝูงนาคเป็นบริวาร


2. ดาวดึงส์ มีวิมานอยู่บนเขาพระสุเมรุ มีพระอินทร์เป็นใหญ่


3. ยามะ มีท้าวสยามเทวราชปกครอง


4. ดุสิต มีท้าวสันนุสิต เป็นใหญ่ สวรรค์ชั้นนี้กล่าวกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ คือ
เป็นที่เกิดแห่งพระโพธิสัตว์ในชาติที่กำลังบำเพ็ญบารมี และยังเป็นสวรรค์ชั้น
ที่พุทธบิดามารดา และผู้มีบุญวาสนาอื่นๆ อีกมาก เคยถือกำเนิดเป็นเทวดา
ในสวรรค์ชั้นนี้ ในวรรณคดีไทยกล่าวถึงสวรรค์ชั้นนี้มาก


5. นิมมานรดี มีท้าวสุนิมมิตปกครอง เทวดาผู้สถิตในสวรรค์ชั้นนี้มีบุญญานุภาพ
มาก มีความประสงค์สิ่งใด ก็เนรมิตได้สมความปราถนา


6. ปรนิมมิตวสวัสดี มีท้าวปรินิมมิตวสวัสดี ปกครอง สวรรค์ชั้นนี้มีความเป็นอยู่
สุขสบายกว่าทุกชั้น แม้จะเนรมิตอะไร ก็มีเทวดาชั้นที่ 5 เนรมิตให้
ป่าหิมพานต์มีสระอยู่ 7 สระ คือ สระอโนดาต มันทากินี กุณาล สหัปปดาต
กัณมุณฑ์ รดาการ ฉัททันต์ สระที่รู้จักกันดีคือ สระอโนดาต มีภูเขาล้อมรอบ
5 ลูก คือ - สุทัศนกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยทอง - เขาจิตรกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยแก้ว -
เขากาลกูฏ ล้วนแล้วด้วยนิลมณี - เขาไกรลาส ล้วนแล้วด้วยเงิน ที่สถิตของ
พระอิศวร และ - คันธมาทกูฏ ล้วนแล้วด้วยแก้วมณีและพันธ์ไม้หอมต่างๆ
บางชนิดดอกหอม บางชนิดเปลือกหอม บางชนิดยางหมอ บางชนิดรากหอม
เขานี้ ถ้าเดือนมืดจะแลเห็นรุ่งเรือง เหมือนถ่านเพลิงอันลุกโชน ถ้าเดือนหงาย
ก็เรืองเหมือนไฟไหม้ป่า ส่วนที่เชิงเขามีผาชะโงก เรียกว่า นันทมูล
เป็นที่ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโปรดประทับ มีถ้ำคูหา 3 แห่ง คือ
สุวรรณคูหา มณีคูหา และรัชฏคูหา


น้ำในสระอโนดาตใสสะอาด และเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ สระนี้มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า
เป็นที่อาบน้ำของเทวดา เทพธิดาท่าหนึ่ง พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่าหนึ่ง
ฤาษีวิทยาธรท่าหนึ่ง พระอรหันต์ท่าหนึ่ง


น้ำในสระอโนดาตนี้ไหลออกตามซอกภูเขาที่อยู่รอบ 4 ทิศ ภูเขานี้มีรูปปากช่อง
เป็นหน้าสิงห็ หน้าช้าง หน้าม้า และหน้าวัว น้ำที่แยกออ้าสิงห์
ผ่านไปทางแดนตะวันออกของเขาหิมพานต์ อันเป็นที่อยู่ของราชสีห์นานาชนิด
ซึ่งกล่าวว่ามี 4 ชนิด คือ - ติณราชสีห์ กินหญ้าเป็นอาหาร รูปร่างคล้ายวัว
ขนสีหม่น หรือมัว - กาฬราชสีห์ มีขนสีดำ รูปร่างคล้ายวัว กินเนื้อเป็นอาหาร
- บัณฑูสุรมฤคราชสีห์ มีขนสีเหลือง เลื่อมงาม รูปร่างเหมือนสองชนิดแรก
ที่ปลายเท้าและปากเป็นสีแดงตัดกันที่กลางหลัง ที่สะโพก โคนขามีขนรอบเวียน
ทักษิณาวัฏ (เวียนขวา) มีขนปกคลุมคอสีแดง เสพสัตว์เป็นอาหาร


ส่วนน้ำในสระที่ไหลออกจากเขาวัว ก็กลายเป็นแม่น้ำสายต่างๆ อันแยกออกเป็น
5 สาย เรียกว่า ปัญจมหานที คือ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู และมหิ ส่วนที่ไหล
ออกจากหน้าม้า น้ำเป็นสีเขียว ผ่านเป็นแม่น้ำสินธุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของม้าสินธพ
ส่วนที่ผ่านด้านหน้าเหนือที่ไหลออกจากเขาหน้าช้าง น้ำเป็นสีเหลือง ผ่านแดน
อันเป็นที่อาศัยของช้างตระกูลต่างๆ 10 ตระกูล คือ
1. กาฬวกหัตถี สีดำ เกิดที่เขากาฬคีรี
2. คังไคยหัตถี สีน้ำ เกิดใกล้แม่น้ำคงคา
3. บัณฑรหัตถี สีเหลือง หรือขาวสะอาด
4. ตามพหัตถี สีทองแดง
5. ปิงคลหัตถี สีจำปาหรือน้ำตาล
6. คันธหัตถี ช้างตระกูลนี้กลิ่นหอม สีไม้กฤษณา
7. มังคลหัตถี กิริยาท่าเดินงดงาม สีนิลอัญชัญ
8. เหมหัตถี สีทอง
9. อุโปสถหัตถี สีทอง
10. ฉัททันตหัตถี สีขาวบริสุทธิ์ มีปากและเท้าแดง


(แหล่งที่มา - ประวัติวรรณคดี : รศ. ประจักษ์ ประภาพิทยากร)






__________________
Anonymous

Date:
Permalink   

Bollywood2Thai wrote:

ตามคติพราหมณ์นั้น เขาพระสุเมรุนี้ เป็นภูเขาที่เป็นหลักของโลก เป็นภูเขาที่ตั้ง
อยู่ในจุดศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล ตามตำนานกล่าวว่า พระอิศวรทรง
สร้างน้ำด้วยพระเสโท (เหงื่อ) สร้างแผ่นดินด้วยเมโท (ไคล) ของพระองค์ (บาง
ตำนานว่าทรงสำรอกพระมังสะในพระอุระออกมาบันดาลให้เป็นแผ่นดิน)



shambhalacity.jpg พระอิศวรมีพระประสงค์จะประดิษฐานภูเขาใหญ่ให้เป็นหลักของโลก จึงทรงเอา
พระจุฑามณี (ปิ่นปักผม) ปักลงที่ใจกลางของพื้นภพ บันดาลให้เป็น
เขาพระสุเมรุ แล้วเอา พระสังวาลมาสร้างเป็นทิวเขาสวมรอยเขาพระสุเมรุอีก
7 ทิว เรียกว่า สัตบริภัณฑคีรีก็เพื่อจะให้เป็นที่อาศัยของทวยเทพทั้งหลาย
เขาพระสุเมรุนี้ สูงจากพื้นน้ำ 84,000 โยชน์ ใต้เขาพระสุเมรุมีเขา 3 ลูกรองรับ เป็นฐานเรียกว่า ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่า สัณบริภัณฑคีรี คือ ทิวเขา ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตก และอัสกัณ เป็นที่สถิตของเทวดาจตุมหาราชิก และบริวาร ภายในจักรวาล มีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล ทุกๆ จักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงษ์ อุสุรพิภพ อเวจีนรก และมหาทวีปทั้ง 4 คือ ชมพูทวีป อมรโคยาน ปุพพวิเทห และ อุตรกุระ มหาทวีปทั้ง 4 มีทวีปน้อยๆ เป็นบริวารอีก 2000 ในทิศทั้ง 4 ของจักรวาล มีมหาสมุทรทั้ง 4 อันมีน้ำเต็มเป็นนิจ คือทิศเหนือมีมหาสมุทร ชื่อ - ปิตสาคร มีน้ำสีเหลือง ทิศตะวันตก ชื่อ - ผลิกสาคร มีน้ำใสสะอาด เหมือนแก้วผลึก ทิศตะวันออกชื่อ - ขีรสาคร เกษียรสมุทร น้ำสีขาว และทิศใต้ ชื่อ - นิลสาคร มีน้ำสีเขียว

อุตรกุรุทวีป อยู่เหนือของภูเขาพระสุเมรุ มีพื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยม เนื้อที่กว้าง
8,000 โยชน์ เป็นที่ราบ มีต้นไม้นานาชนิด คนรูปร่างงาม ในแผ่นดินอุตรกุรุ
มีต้นกัลปพฤกษ์ต้นหนึ่ง ถ้าอยากได้อะไร ก็ไปนึกเอาที่ต้นกัลปพฤกษ์


ชมพูทวีป คืออินเดีย อยุ่ตอนใต้เขาพระสุเมรุ รูปเหมือนเกวียน มีต้นไม้หว้ามาก
ในทวีปนี้ ด้านตะวันออกมีต้นชุมพู่ (บ้างก็เรียกไม้หว้า) สูง 1000 โยชน์ กว้าง
โดยรอบ 1000 โยชน์ น้ำของชมพู่ไหลลงมาเป็นแม่น้ำสู่ทิศตะวันตก
เป็นน้ำกายสิทธิ์ ถูกสิ่งใดสิ่งนั้นกลายเป็นสีทอง มีนามว่า พังครนที เป็นน้ำไหล
ลงมาเป็นแม่น้ำชมพู ประชาชนใช้น้ำนี้กินไม่เกิดดรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีกลิ่นตัว
ไม่รุ้สึกเหนื่อย และไม่ชรา น้ำลาดดินสองข้างฝั่ง ได้รับโอชะดูดน้ำชมพู่ไว้ต้องลม
โชยงวดเป็นทอง เรียกว่า ทองชมพูนุช ซึ่งพวกนักสิทธิ์เอาไปทำเป็น
เครื่องประดับ


ปุพพวิเทหะ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของเขาพระสุเมรุ มีรุกเหมือนพระจันทร์
เต็มดวง เนื้อที่กว้าง 7000 โยชน์ มีเกาะ 400 เกาะ คนหน้ากลมเหมือน
ดวงจันทร์


อมรโคยาองเขาพระสุเมรุ มีรูปเหมือนพระจันทร์
ครึ่งซีก เป็นแผ่นดินกว้าง 9000 โยชน์ ประกอบด้วยเกาะ และแม่น้ำใหญ่น้อย
มีไม้กระทุ่มประจำทวีปนี้ คนหน้าเหมือนดั่งเดือนแรม จมูกโด่ง คางแหลม


เหนือเขาพระสุเมรุนี้ มีไพชยนต์ปราสาทตั้งอยู่กลางสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
(ตรัยตรึงศ์) อันเป็นที่พระอินทร์สถิตอยู่ และสวรรค์ดาวดึงษ์นี้เป็นสวรรค์ชั้นหนึ่ง
ของ ฉกามาพจร (สวรรค์ที่เกี่ยวข้องกับความรัก) สวรรค์ ชั้นนี้ มีดังนี้


1. จตุมหาราชิก เป็นที่อยู่ของท้าวจตุโลกบาลทั้ง 4 มี"ท้าวกุเวร" หรือบางทีเรียก
ว่า ท้าวเวสสุวรรณ รักษาทางทิศอุดร มีพวกยักษ์เป็นบริวาร "ท้าวธตรฐ" รักษา
ทางทิศบูรพา มีพวกคนธรรพ์เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬหก" รักษาทางทิศทักษิณ มี
พวกุมภัณฑ์ (อสูรจำพวกหนึ่ง) เป็นบริวาร "ท้าววิรุฬปักษ์" รักษาทางทิศประจิม
มีฝูงนาคเป็นบริวาร


2. ดาวดึงส์ มีวิมานอยู่บนเขาพระสุเมรุ มีพระอินทร์เป็นใหญ่


3. ยามะ มีท้าวสยามเทวราชปกครอง


4. ดุสิต มีท้าวสันนุสิต เป็นใหญ่ สวรรค์ชั้นนี้กล่าวกันว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ คือ
เป็นที่เกิดแห่งพระโพธิสัตว์ในชาติที่กำลังบำเพ็ญบารมี และยังเป็นสวรรค์ชั้น
ที่พุทธบิดามารดา และผู้มีบุญวาสนาอื่นๆ อีกมาก เคยถือกำเนิดเป็นเทวดา
ในสวรรค์ชั้นนี้ ในวรรณคดีไทยกล่าวถึงสวรรค์ชั้นนี้มาก


5. นิมมานรดี มีท้าวสุนิมมิตปกครอง เทวดาผู้สถิตในสวรรค์ชั้นนี้มีบุญญานุภาพ
มาก มีความประสงค์สิ่งใด ก็เนรมิตได้สมความปราถนา


6. ปรนิมมิตวสวัสดี มีท้าวปรินิมมิตวสวัสดี ปกครอง สวรรค์ชั้นนี้มีความเป็นอยู่
สุขสบายกว่าทุกชั้น แม้จะเนรมิตอะไร ก็มีเทวดาชั้นที่ 5 เนรมิตให้
ป่าหิมพานต์มีสระอยู่ 7 สระ คือ สระอโนดาต มันทากินี กุณาล สหัปปดาต
กัณมุณฑ์ รดาการ ฉัททันต์ สระที่รู้จักกันดีคือ สระอโนดาต มีภูเขาล้อมรอบ
5 ลูก คือ - สุทัศนกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยทอง - เขาจิตรกูฏ ซึ่งล้วนไปด้วยแก้ว -
เขากาลกูฏ ล้วนแล้วด้วยนิลมณี - เขาไกรลาส ล้วนแล้วด้วยเงิน ที่สถิตของ
พระอิศวร และ - คันธมาทกูฏ ล้วนแล้วด้วยแก้วมณีและพันธ์ไม้หอมต่างๆ
บางชนิดดอกหอม บางชนิดเปลือกหอม บางชนิดยางหมอ บางชนิดรากหอม
เขานี้ ถ้าเดือนมืดจะแลเห็นรุ่งเรือง เหมือนถ่านเพลิงอันลุกโชน ถ้าเดือนหงาย
ก็เรืองเหมือนไฟไหม้ป่า ส่วนที่เชิงเขามีผาชะโงก เรียกว่า นันทมูล
เป็นที่ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโปรดประทับ มีถ้ำคูหา 3 แห่ง คือ
สุวรรณคูหา มณีคูหา และรัชฏคูหา


น้ำในสระอโนดาตใสสะอาด และเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ สระนี้มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า
เป็นที่อาบน้ำของเทวดา เทพธิดาท่าหนึ่ง พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่าหนึ่ง
ฤาษีวิทยาธรท่าหนึ่ง พระอรหันต์ท่าหนึ่ง


น้ำในสระอโนดาตนี้ไหลออกตามซอกภูเขาที่อยู่รอบ 4 ทิศ ภูเขานี้มีรูปปากช่อง
เป็นหน้าสิงห็ หน้าช้าง หน้าม้า และหน้าวัว น้ำที่แยกออ้าสิงห์
ผ่านไปทางแดนตะวันออกของเขาหิมพานต์ อันเป็นที่อยู่ของราชสีห์นานาชนิด
ซึ่งกล่าวว่ามี 4 ชนิด คือ - ติณราชสีห์ กินหญ้าเป็นอาหาร รูปร่างคล้ายวัว
ขนสีหม่น หรือมัว - กาฬราชสีห์ มีขนสีดำ รูปร่างคล้ายวัว กินเนื้อเป็นอาหาร
- บัณฑูสุรมฤคราชสีห์ มีขนสีเหลือง เลื่อมงาม รูปร่างเหมือนสองชนิดแรก
ที่ปลายเท้าและปากเป็นสีแดงตัดกันที่กลางหลัง ที่สะโพก โคนขามีขนรอบเวียน
ทักษิณาวัฏ (เวียนขวา) มีขนปกคลุมคอสีแดง เสพสัตว์เป็นอาหาร


ส่วนน้ำในสระที่ไหลออกจากเขาวัว ก็กลายเป็นแม่น้ำสายต่างๆ อันแยกออกเป็น
5 สาย เรียกว่า ปัญจมหานที คือ คงคา ยมนา อจิรวดี สรภู และมหิ ส่วนที่ไหล
ออกจากหน้าม้า น้ำเป็นสีเขียว ผ่านเป็นแม่น้ำสินธุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของม้าสินธพ
ส่วนที่ผ่านด้านหน้าเหนือที่ไหลออกจากเขาหน้าช้าง น้ำเป็นสีเหลือง ผ่านแดน
อันเป็นที่อาศัยของช้างตระกูลต่างๆ 10 ตระกูล คือ
1. กาฬวกหัตถี สีดำ เกิดที่เขากาฬคีรี
2. คังไคยหัตถี สีน้ำ เกิดใกล้แม่น้ำคงคา
3. บัณฑรหัตถี สีเหลือง หรือขาวสะอาด
4. ตามพหัตถี สีทองแดง
5. ปิงคลหัตถี สีจำปาหรือน้ำตาล
6. คันธหัตถี ช้างตระกูลนี้กลิ่นหอม สีไม้กฤษณา
7. มังคลหัตถี กิริยาท่าเดินงดงาม สีนิลอัญชัญ
8. เหมหัตถี สีทอง
9. อุโปสถหัตถี สีทอง
10. ฉัททันตหัตถี สีขาวบริสุทธิ์ มีปากและเท้าแดง


(แหล่งที่มา - ประวัติวรรณคดี : รศ. ประจักษ์ ประภาพิทยากร)






__________________
Page 1 of 1  sorted by
 
Quick Reply

Please log in to post quick replies.

Tweet this page Post to Digg Post to Del.icio.us


Create your own FREE Forum
Report Abuse
Powered by ActiveBoard